เก็งข้อสอบวิชาธรรมวิจารณ์ ธรรมศึกษาชั้นเอก ระดับมัธยมศึกษา

<h1>เก็งข้อสอบวิชาธรรมวิจารณ์ ธรรมศึกษาชั้นเอก ระดับมัธยมศึกษา</h1>


เก็งข้อสอบวิชาธรรมวิจารณ์ ธรรมศึกษาชั้นเอก ระดับมัธยมศึกษา
{getButton} $text={คติ ๒} $color={#009933}
๑. พุทธพจน์ว่า จิตฺเต สงฺกิลิฏฺเฐ ทุคติ ปาฏิกงฺขา ยืนยันเรื่องใด ?
ก. ตายแล้วสูญ
ข. ตายแล้วเกิด
ค. ตายแล้วฟื้น
ง. ถูกทุกข้อ
๒. พุทธพจน์ว่า จิตฺเต อสงฺกิลิฏฺเฐ สุคติ ปาฏิกงฺขา ยืนยันเรื่องใด ?
ก. ตายแล้วเกิด
ข. ตายแล้วสูญ
ค. ตายแล้วฟื้น
ง. ถูกทุกข้อ
๓. การเวียนว่ายตายเกิดของสัตว์ทั้งหลาย เรียกว่าอะไร ?
ก. ภูมิ
ข. สังสารวัฏ
ค. คติ
ง. ภพ
๔. ภูมิเป็นที่ไปข้างหน้าหลังความตาย มีคำเรียกว่าอะไร ?
ก. คติ
ข. ภพ
ค. ปรโลก
ง. อบาย
๕. ภูมิเป็นที่ไปข้างชั่ว หมายถึงข้อใด ?
ก. สุคติ
ข. ทุคติ
ค.ภพ
ง. คติ
๖. คำตอบในข้อใด ไม่จัดเป็นทุคติ ?
ก. นิรยะ
ข. ติรัจฉานโยนิ
ค. ปิตติวิสยะ
ง. มนุษย์โลก
๗. วิมานของพวกเวมานิกเปรต อยู่ในทุคติใด ?
ก. อบาย
ข. ทุคติ
ค. วินิบาต
ง. นิรยะ
๘. ในเทวทูตสูตร ข้อใดไม่จัดเป็นเทวทูต ?
ก. เด็กแรกคลอด
ข. คนเจ็บ
ค. คนชรา
ง. นักบวช
๙. ใครทำหน้าที่พิพากษาลงโทษสัตว์นรก ?
ก. พยายมราช
ข. นายนิรยบาล
ค. ท้าวจตุโลกบาล
ง. ท้าวสักกเทวโลก
๑๐. ใครทำหน้าที่ลงโทษสัตว์นรก ?
ก. นายนิรยบาล
ข. พญายมราช
ค. เทวราช
ง. จตุโลกบาล
๑๑. เทวทูตเป็นสัญญาณเตือนมนุษย์ให้ตระหนักในเรื่องใด ?
ก. ความไม่โกรธ
ข. ความไม่ประมาท
ค. ความไม่โลภ
ง. ความกลัว
๑๒. สัตว์ชนิดใดกินหญ้าเป็นอาหาร ?
ก. ไก่
ข. สุกร
ค. ลา
ง. ไส้เดือน
๑๓. สัตว์ชนิดใด มีคูถเป็นเป็นอาหาร ?
ก. กระบือ
ข. สุนัข
ค. กวาง
ง. เต่า
๑๔. สัตว์ชนิดใด เกิดและตายในที่มืด ?
ก. ม้า
ข. ปลา
ค. สุนัขจิ้งจอก
ง. มอด
๑๕. สุคติโลกสวรรค์มีกี่ชั้น ?
ก. ๔
ข. ๕
ค. ๖
ง. ๗
๑๖. ภูมิเป็นที่ไปของผู้ประกอบกุศลธรรม โดยรวมเรียกว่าอะไร ?
ก. สุคติ
ข. พรหมโลก
ค. มนุษย์โลก
ง. เทวโลก
๑๗. เทพองค์ใด ปกครองสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ ?
ก. ท้าวกุเวร
ข. ท้าววิรูปักษ์
ค. ท้าวธตรฐ
ง. ท้าวสักกะ
๑๘. พระอริยบุคคลใด ละสังขารแล้วไปเกิดในพรหมโลกชั้นสุทธาวาส ?
ก. พระโสดาบัน
ข. พระสกทาคามี
ค. พระอนาคามี
ง. พระอรหันต์
๑๙. ผู้บรรลุปฐมฌานสิ้นชีวิตแล้วไปเกิดในพรหมโลกชั้นใด ?
ก. อาภัสสรา
ข. ปริตตาภา
ค. มหาพรหมา
ง. เวหัปผลา
๒๐. พระอนาคามีละสังขารแล้ว ไปเกิดในพรหมโลกชั้นใด ?
ก. มหาพรหมา
ข. อาภัสสรา
ค. เวหัปผลา
ง. สุทธาวาส


{getButton} $text={กรรม ๑๒} $color={#009933}
๑. กรรมทันตา เรียกว่าอะไร ?
ก. ทิฏฐธรรมเวทนียกรรม
ข. อโหสิกรรม
ค. ชนกกรรม
ง. พหุลกรรม
๒. ทิฏฐธรรมเวทนียกรรม หมายถึง กรรมที่ให้ผลในเวลาใด ?
ก. ชาตินี้
ข. ชาติหน้า
ค. ชาติต่อๆ ไป
ง. ถูกทุกข้อ
๓. อปราปรเวทนียกรรม ให้ผลเปรียบเสมือนอะไร ท
ก. พรานล่าสัตว์
ข. สุนัขล่าเนื้อ
ค. เงาตามตัว
ง. คนเลี้ยงโค
๔. การกระทำในข้อใด ชะลอการให้ผลของกรรมชั่ว ?
ก. รดน้ำมนต์
ข. สะเดาะเคาระห์
ค. ต่อชะตา
ง. ทำความดีต่อเนื่อง
๕. ชนกกรรม ทำหน้าที่อะไร ?
ก. แต่งให้เกิด
ข. สนับสนุน
ค. บีบคั้น
ง. ตัดรอน
๖. ผู้ประสบอุบัติเหตุตายก่อนวัยอันควร เพราะกรรมใดให้ผล ?
ก. ชนกกรรม
ข. ครุกรรม
ค. อุปฆาตกกรรม
ง. กตัตตากรรม
๗. กรรมใดให้ผลก่อนสิ้นใจ ?
ก. ครุกรรม
ข. พหุลกรรม
ค. อาสันนกรรม
ง. กตัตตากรรม
๘. อุปปัชชเวทนียกรรม หมายถึงกรรมที่ให้ผลในเวลาใด ?
ก. ชาตินี้
ข. ชาติหน้า
ค. ชาติต่อๆ ไป
ง. ถูกทุกข้อ
๙. กรรมชนิดใดให้ผลสำเร็จแล้ว ?
ก. ชนกกรรม
ข. อโหสิกรรม
ค. พหุลกรรม
ง. อาสันนกรรม
๑๐. อุปัตถัมภกกรรม ทำหน้าที่อะไร ?
ก. แต่งให้เกิด
ข. สนับสนุน
ค. บีบคั้น
ง. ตัดรอน
๑๑. อุปฆาตกกรรม ทำหน้าที่อะไร ?
ก. แต่งให้เกิด
ข. สนับสนุน
ค. บีบคั้น
ง. ตัดรอน
๑๒. ผู้ทำปิตุฆาต มาตุฆาต เป็นผู้ทำกรรมชนิดใ ?
ก. ชนกกรรม
ข. อุปปีฬกกรรม
ค. อุปฆาตกกรรม
ง. ครุกรรม
๑๓. ครุกรรมฝ่ายกุศล หมายถึงข้อใด ?
ก. สมาบัติ ๘
ข. บุญกิริยาวัตถุ ๑๐
ค. อริยสัจ ๔
ง. มรรค ๘


{getButton} $text={หัวใจของสมถกัมมัฏฐาน} $color={#009933}
๑. หัวใจของสมถกัมมัฏฐาน มีกี่ประการ ?
ก. ๔ ประการ
ข. ๕ ประการ
ค. ๖ ประการ
ง. ๗ ประการ
๒. การเจริญสมถกัมมัฏฐาน เป็นอุบายสงบอะไร ?
ก. สงบกาย
ข. สงบวาจา
ค. สงบใจ
ง. ถูกทุกข้อ
๓. การกำหนดสติพิจารณาอาการ ๓๒ เป็นการเจริญกัมมัฏฐานใด ?
ก. กายคตาสติ
ข. กสิณ
ค. จตุธาตุววัตถาน
ง. มรณัสสติ
๔. เห็นอาการ ๓๒ อย่างไร จึงจะเป็นกัมมัฏฐาน ?
ก. สวยงาม
ข. ปฏิกูล
ค. น่ากลัว
ง. น่ารัก
๕. การเจริญกายคตาสติ แก้นิวรณ์ใด ?
ก. กามฉันทะ
ข. พยาบาท
ค. ถีนมิทธะ
ง. วิจิกิจฉา
๖. ผู้เจริญเมตตา ควรเริ่มต้นที่ใครก่อน ?
ก. มารดาบิดา
ข. มิตรสหาย
ค. ศัตรู
ง. ครูอาจารย์
๗. หลับเป็นสุข ตื่นเป็นสุข เป็นอานิสงส์ของการเจริญกัมมัฏฐานใด ?
ก. กายคตาสติ
ข. เมตตา
ค. พุทธานุสสติ
ง. กสิณ
๘. หน้าตาผ่องใส เป็นอานิสงส์ของการเจริญกัมมัฏฐานใด ?
ก. กายคตาสติ
ข. เมตตา
ค. กสิณ
ง. พุทธานุสสติ
๙. คำตอบในข้อใด เป็นคำบริกรรมของเจริญพุทธานุสสติ ?
ก. อรหํ
ข. สมฺมาสมฺพุทฺโธ
ค. ภควา
ง. ถูกทุกข้อ
๑๐. ข้อใดเป็นคำบริกรรมของผู้เจริญพุทธานุสสติ ?
ก. พุทโธ
ข. ธัมโม
ค. สังโฆ
ง. ยุบหนอ พองหนอ
๑๑. การเจริญพุทธานุสสติ แก้นิวรณ์ใด ?
ก. กามฉันท์
ข. พยาบาท
ค. ถีนมิทธะ
ง. วิจิกิจฉา
๑๒. คนถูกนิวรณ์คือกามฉันทะครอบงำ ควรเจริญกัมมัฏฐานใด ?
ก. กายคตาสติ
ข. เมตตา
ค. กสิณ
ง. พุทธานุสสติ
๑๓. คนถูกนิวรณ์คือพยาบาทครอบงำ ควรเจริญกัมมัฏฐานใด ?
ก. กายคตาสติ
ข. เมตตา
ค. กสิณ
ง. พุทธานุสสติ
๑๔. คนถูกนิวรณ์คือถีนมิทธะครอบงำ ควรเจริญกัมมัฏฐานใด ?
ก. กายคตาสติ
ข. เมตตา
ค. กสิณ
ง. พุทธานุสสติ
๑๕. คนถูกนิวรณ์คืออุทธัจจกุกกุจจะครอบงำ ควรเจริญกัมมัฏฐานใด ?
ก. กายคตาสติ
ข. เมตตา
ค. กสิณ
ง. พุทธานุสสติ
๑๖. คนถูกนิวรณ์คือวิจิกิจฉาครอบงำ ควรเจริญกัมมัฏฐานใด ?
ก. กายคตาสติ
ข. เมตตา
ค. กสิณ
ง. จตุธาตุววัตถาน
๑๗. การพิจารณาความแก่บ่อยๆ เป็นอุบายบรรเทาความประมาทในอะไร ?
ก. ความไม่มีโรค
ข. วัย
ค. ชีวิต
ง. สุขภาพ
๑๘. การพิจารณาความตายบ่อยๆ เป็นอุบายบรรเทาความประมาทในเรื่องใด ?
ก. ความไม่มีโรค
ข. วัย
ค. ชีวิต
ง. สุขภาพ
๑๙. การกำหนดรู้ลมหายใจเข้าออก เป็นการเจริญสติปัฏฐานใด ?
ก. กายานุปัสสนา
ข. เวทนานุปัสสนา
ค. จิตตานุปัสสนา
ง. ธัมมานุปัสสนา
๒๐. กำหนดพิจารณาเรื่องใด ไม่จัดเป็นกายานุปัสสนาสติปัฏฐาน ?
ก. ลมหายใจ
ข. อิริยาบถ
ค. ธาตุ ๔
ง. ความรู้สึก
๒๑. กำหนดพิจารณาอะไร จัดเป็นจิตตานุปัสสนาสติปัฏฐาน ?
ก. สุข
ข. ทุกข์
ค. กุศล
ง. จิต


{getButton} $text={สมถกัมมัฏฐาน} $color={#009933}
๑. นิมิตใด ปรากฎแก่ผู้ปฏิบัติก่อนจะบรรลุอัปปนาสมาธิ ?
ก. กรรมนิมิต
ข. บริกรรมนิมิต
ค. อุคคหนิมิต
ง. ปฏิภาคนิมิต
๒. กสิณ หมายถึงอะไร ?
ก. วัตถุสำหรับเพ่ง
ข. แผ่เมตตา
ค. พิจารณาอสุภะ
ง. กำหนดลมหายใจ
๓. คำตอบในข้อใด เป็นอารมณ์ของกสิณ ?
ก. ดิน
ข. น้า
ค. ไฟ
ง. ถูกทุกข้อ
๔. สีใด ไม่จัดเป็นกสิณ ?
ก. สีเหลือง
ข. สีแดง
ค. สีขาว
ง. สีดำ
๕. การเจริญกสิณ แก้นิวรณ์ใด ?
ก. กามฉันท์
ข. พยาบาท
ค. ถีนมิทธะ
ง. อุทธัจจกุกกุจจะ
๖. โลหิตกสิณ หมายถึงข้อใด ?
ก. กสิณสีเขียว
ข. กสิณสีแดง
ค. กสิณสีขาว
ง. กสิณสีเหลือง
๗. วิธีเจริญกสิณ ต้องเจริญด้วยอาการอย่างไร ?
ก. เพ่ง
ข. พิจารณา
ค. รักษา
ง. คุ้มครอง
๘. อสุภะ หมายถึงการพิจารณาอะไร ?
ก. ผิวหนัง
ข. ร่างกาย
ค. อาหารบูด
ง. ซากศพ
๙. ระลึกถึงคุณของใคร เป็นการเจริญอนุสสติ ?
ก. พระพุทธ
ข. พระธรรม
ค. พระสงฆ์
ง. ถูกทุกข้อ
๑๐. กำหนดพิจารณาคุณธรรมคือการเผื่อแผ่ จัดเป็นอนุสสติใด ?
ก. ธัมมานุสสติ
ข. สีลานุสสติ
ค. จาคานุสสติ
ง. มรณัสสติ
๑๑. การกำหนดลมหายใจเป็นอนุสสติใด ?
ก. เทวตานุสสติ
ข. อุปสมานุสสติ
ค. กายคตานุสสติ
ง. อานาปานัสสติ
๑๒. การพิจารณาถึงศีลของตนที่บริสุทธิ์ไม่ด่างพร้อย จัดเป็นอนุสสติใด ?
ก. ธัมมานุสสติ
ข. สีลานุสสติ
ค. จาคานุสสติ
ง. มรณัสสติ
๑๓. การนึกถึงความดีที่ตนบริจาคช่วยผู้ประสบภัย จัดเป็นอนุสสติใด ?
ก. สีลานุสสติ
ข. จาคานุสสติ
ค. เทวตานุสสติ
ง. อุปสมานุสสติ
๑๔. พรหมวิหารข้อใด เป็นข้าศึกแก่โทสะและพยาบาทโดยตรง ?
ก. เมตตา
ข. กรุณา
ค. มุทิตา
ง. อุเบกขา
๑๕. พรหมวิหารข้อใด สามารถทำให้ผู้เจริญบรรลุฌานขั้นสูงสุดได้ ?
ก. เมตตา
ข. กรุณา
ค. มุทิตา
ง. อุเบกขา
๑๖. การพิจารณาอาหารโดยอาการใด ไม่เป็นอาหาเรปฏิกูลสัญญา ?
ก. การแสวงหา
ข. การบริโภค
ค. การขับถ่าย
ง. การปรุง
๑๗. ร่างกายบุคคลเคบลื่อนไหวได้เพราะอาสัยธาตุใด ?
ก. ธาตุดิน
ข. ธาตุน้ำ
ค. ธาตุไฟ
ง. ธาตุลม
๑๘. เนวสัญญานาวสัญญายาตนะ ใช้คำบริกรรมว่าอย่างไร ?
ก. อนนฺโต
ข. อนนฺตํ
ค. นตฺถิ กิญจิ
ง. สนฺตเมตํ ปณีตเมตํ
๑๙. อาการ ๓๒ ได้แก่ข้อใด ?
ก. เลือด
ข. น้ำตา
ค. หัวใจ
ง. ถูกทุกข้อ
๒๐. พรหมวิหารใด มีลักษณะไม่เลือกที่รักมักที่ชัง ?
ก. เมตตา
ข. กรุณา
ค. มุทิตา
ง. อุเบกขา
๒๑. จตุธาตุววัตถาน เป็นการพิจารณาร่างกายโดยอาการอย่างไร ?
ก. เป็นของสวยงาม
ข. เป็นสิ่งปฏิกูล
ค. เป็นสิ่งน่ากลัว
ง. เป็นเพียงธาตุ ๔
๒๒. ข้อใด เป็นอารมณ์ของสมถกัมมัฏฐานตามนัยพระบาลี ?
ก. สติปัฏฐาน
ข. กสิณ
ค. อสุภะ
ง. อนุสสติ
๒๓. ผู้ที่ประมาทในวัยว่ายังหนุ่มสาว ควรพิจารณาเรื่องใดบ่อยๆ ?
ก. ความแก่
ข. ความเจ็บ
ค. ความตาย
ง. ความพลัดพราก
๒๔. ผู้ที่ประมาทในชีวิต ควรพิจารณาเรื่องใดบ่อยๆ ?
ก. ความแก่
ข. ความเจ็บ
ค. ความตาย
ง. ความพลัดพราก
๒๕. อาหาเรปฏิกูลสัญญา ต้องพิจารณาโดยอาการอย่างไร ?
ก. แสวงหา
ข. การบริโภค
ค. การขับถ่าย
ง. ถูกทุกข้อ
๒๖. คำตอบในข้อใด ไม่ใช่ปฐวีธาตุ ?
ก. น้ำตา
ข. กระดูก
ค. ฟัน
ง. หนัง
๒๗. วิญญาณัญจายตนะ มีคำบริกรรมว่าอย่างไร ?
ก. อนนฺโต อากาโส
ข. อนนฺตํ วิญญาณํ
ค. นตฺถิ กิญฺจิ
ง. สนฺตเมตํ
๒๘. คนหูเบาถูกชักจูงให้เชื่อได้ง่าย เป็นคนจริตใด ?
ก. ราคจริต
ข. โทสจริต
ค. โมหจริต
ง. สัทธาจริต
๒๙. คนอารมณ์ฉุนเฉียวโกรธง่าย เป็นคนจริตใด ?
ก. ราคจริต
ข. โทสจริต
ค. สัทธาจริต
ง. วิตกจริต
๓๐. คนรักสวยรักงาม นิยมสินค้าราคาแพง จัดเป็นคนจริตใด ?
ก. ราคจริต
ข. โทสจริต
ค. โมหจริต
ง. สัทธาจริต
๓๑. คนเชื่อง่าย จัดเป็นคนจริตใด ?
ก. ราคจริต
ข. โทสจริต
ค. สัทธาจริต
ง. วิตกจริต


{getButton} $text={พุทธคุณกถา} $color={#009933}
๑. ผู้ไกลจากกิเลส เป็นความหมายของพุทธคุณบทใด ?
ก. อรหํ
ข. สมฺมาสมฺพุทฺโธ
ค. วิชฺชาจรณสมฺปนฺโน
ง. สุคโต
๒. ตรัสรู้ชอบด้วยพระองค์เอง เป็นความหมายของพุทธคุณบทใด ?
ก. อรหํ
ข. สมฺมาสมฺพุทฺโธ
ค. วิชฺชาจรณสมฺปนฺโน
ง. สุคโต
๓. ผู้เสด็จไปดีแล้ว เป็นความหมายของพุทธคุณบทใด ?
ก. อรหํ
ข. สมฺมาสมฺพุทฺโธ
ค. วิชฺชาจรณสมฺปนฺโน
ง. สุคโต
๔. ญาณใด จัดเข้าในพุทธคุณบทว่า วิชฺชาจรณสมฺปนฺโน ?
ก. วิปัสสนาญาณ
ข. จุตูปปาตญาณ
ค. เจโตปริยญาณ
ง. ทิพพโสต
๕. วิชชา ในคำว่า วิชฺชาจรณสมฺปนฺโน หมายถึงวิชาาใด ?
ก. อาสวักขยญาณ
ข. มโนมยิทธิ
ค. ทิพพโสต
ง. ถูกทุกข้อ
๖. พระพุทธคุณบทใด เป็นพระกรุณาคุณ ?
ก. อรหํ
ข. สตฺถา เทวมนุสฺสานํ
ค. พุทฺโธ
ง. ภควา
๗. พุทธคุณบทใด เป็นคุณประโยชน์แก่ผู้อื่น ?
ก. อรหํ
ข. สุคโต
ค. โลกวิทู
ง. สตฺถา เทวมนุสฺสานํ
๘. พุทธคุณบทใด ยืนยันว่าพระพุทธเจ้าทรงเป็นพระบรมครู ?
ก. อนุตฺตโร ปุริสทมฺมสารถิ
ข. สตฺถา เทวมนุสฺสานํ
ค. พุทฺโธ
ง. ภควา
๙. คำตอบในข้อใด เป็นความหมายของพระพุทธคุณบทว่า ภควา ?
ก. ผู้จำแนกธรรม
ข. ผู้เสด็จไปดีแล้ว
ค. ผู้เบิกบาน
ง. ถูกทุกข้อ
๑๐. พุทธคุณบทใด จัดเข้าในพระปัญญาคุณและพระมหากรุณาคุณ ?
ก. อรหํ
ข. สุคโต
ค. โลกวิทู
ง. พุทฺโธ ภควา